..............................................

Elephants Training In Chiang Mai

Elephants Training In Chiang Mai

Elephants are not that easy going kind loving creatures people believe. They are of course not evil either, they simply just follow their biological pattern, shaped by evolution. The secret of becoming a good trainer is to learn this pattern, and be able to apply it on your self, and the elephants you are responsible for. Elephant Training Elephant ChiangmaiElephant TrainningBaby Elephant Chiangmai The number one rule before you try anything, is to have a full established dominance, in the same natural way as elephants are dominated by their group leader. Respect and love in combination. If one part is lacking then some intelligent person nearby, have to sign a life insurance for you. Without confidence you will be unfruitful. Without respect, and total general obedience, the elephant may some day not follow your command even if it gladly will do the trick for someone else, better equipped with positive but strong sense of leadership. To perform openly for public with an elephants that is not under control, is also deliberately risking others health and lives. Elephant Training The elephants. As a way of life that bind the human-elephant. Chang is a land animal body size. And listen. And follow the instructions very well. If you are trained to be docile Finally able to understand and follow the instructions of the mahout. From the mahout, or who have expertise in training elephants control. To use the language to specific commands. A short speech for communication between mahout and elephant. There will be training every day. To understand the elephant. And be familiar with these commands next

If you are who love elephant and nature please join elephant tranning with www.rakchangelephanttraning.com

new-sldier-11
rakchangelephanttraining.com elephant tour that conserve nature and elephant we will bring you to see life of elephant and elephant training. We confirmed that you will get fully satisfaction of this trip in term of you will never see on other trip. For more information please contact us Elephant trainning . ..
new-sldier-10
CONTACT US
Banchang Elephant Home Tour
Address : 27 SanambinkaoSuthepMuangChiangmai 50200
Tel : 053-272087 ,091-0766254 ,086-9126463
E-mail : rakchang27@gmail.com

สถานที่ท่องเที่ยวยอดฮิตปี 2015 เที่ยวเชียงใหม่

สถานที่ท่องเที่ยวยอดฮิตปี 2015 เที่ยวเชียงใหม่ สัมผัสบรรยากาศกลิ่นอายเอกลักษณ์ประเพณีวัฒนธรรมของ อาณาจักรล้านนา

ถ้ากล่าวถึงเชียงใหม่ใครต่อใครก็คงนึกถึงเมืองเหนือที่ประกอบไปด้วยวัฒนธรรมประเพณีอันเป็เอกลักษณ์ของชาวล้านนา สถานที่ท่องเที่ยวเชียงใหม่ ที่มีอยู่อย่างมากมาย เที่ยวเชียงใหม่ ครั้งเดียวไม่สามารถเที่ยวได้ทั่วถึง ต้องมากันหลาย ๆ รอบ หรือพักกันอยู่แบบยาว ๆ กันเลย ขนบธรรมเนียมประเพณีที่แตกต่าง ภาษาพูดที่ถือว่าเป็นเอกลักษณ์อย่างมาก ที่คนพื้นบ้านสื่อสารออกกับผู้มาเยือนได้อย่างไพเราะเสนาะหู หรืออาหารการกินที่มีความอร่อย ของกินเชียงใหม่ งานหัตถกรรม งานฝีมือต่าง ๆ

- อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์

 ดอยอินทนนท์ อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ มีพื้นที่ครอบคลุมอยู่ในท้องที่ อำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และ อำเภอดอยหล่อ จังหวัดเชียงใหม่ มีเนื้อที่ประมาณ 482.4 ตารางกิโลเมตร หรือ 301,500 ไร่ ประกอบไปด้วยภูเขาสูงสลับซับซ้อน มีดอยอินทนนท์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาหิมาลัย พาดผ่านจากประเทศเนปาล ภูฐาน พม่า เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในประเทศไทย

สภาพ ภูมิประเทศทั่วไปประกอบด้วยภูเขาสลับซับซ้อน มีดอยอินทนนท์เป็นยอดเขาที่สูงที่สุด สูงจาก ระดับน้ำทะเล 2,565 เมตร ยอดเขาที่มีระดับสูงรองลงมาคือ ดอยหัวมดหลวง สูงจากระดับน้ำทะเล 2,330 เมตร ป่าอินทนนท์นี้เป็นแหล่งกำเนิดของต้นน้ำแม่กลาง แม่ป่าก่อ แม่ปอน แม่หอย แม่ยะ แม่แจ่ม แม่ขาน และเป็นส่วนหนึ่งของต้นน้ำแม่ปิงที่ ให้พลังงานไฟฟ้าที่เขื่อนภูมิพล มีเอกลักษณ์ทางธรรมชาติที่สวยงาม เช่น น้ำตกต่างๆ โดยเฉพาะน้ำตกแม่ยะ ที่ได้ชื่อว่าสวยที่สุดของประเทศ
ดอยอินทนนท์ เดิมมีชื่อว่า “ดอยหลวงอ่างกา” ต่อมาได้ตั้งชื่อตามพระนามของพระเจ้าอินทวิชยนนท์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7

- อุทยานหลวงราชพฤกษ์

อุทยานหลวงราชพฤกษ์ เป็นสวนพฤกษศาสตร์ขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ ณ ศูนย์วิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม่ ตำบลแม่เหียะ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นสถานที่ที่ใช้จัดงาน มหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549 และ มหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2554 เนื่องในมหามงคลสมัยที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ใน พ.ศ. 2549 และทรงเจริญพระชนพรรษา 80 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2550 และคณะรัฐมนตรีมีมติ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2546 เห็นชอบให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดงานมหกรรมพืชสวนโลก 2549 ณ ศูนย์วิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม่ ตำบลแม่เหียะ อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ (พื้นที่ 468 ไร่ 3 งาน 10 ตารางวา) โดยจัดขึ้นระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2550 รวม 92 วันภายใต้ชื่อ “มหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549” ซึ่งเป็นงานที่ประเทศไทยประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก
 
จากความสำเร็จของการจัดงานมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549 ที่ได้รับการตอบรับทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศเป็นอย่างดี คณะรัฐมนตรีจึงมีมติ เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2551 ให้สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) เข้ามาบริหารจัดการและใช้ประโยชน์พื้นที่สวนเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549 เพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการบริหารจัดการและปฏิบัติงานด้านต่างๆ มีภารกิจหลักในการพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้พืชสวนและเป็นแหล่งท่องเที่ยว ทางการเกษตรและวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหม่และประเทศไทย โดยได้รับการถ่ายโอนกิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ และงบประมาณของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์มาเป็นของสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่ สูง (องค์การมหาชน) เมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2552 และมีการส่งมอบสวนเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549 ในวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2552 การตั้งชื่ออุทยานหลวงราชพฤกษ์นั้น หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี องค์ประธานมูลนิธิโครงการหลวง ได้มีลายพระหัตถ์ถึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2552 [1]ขอ พระราชทานชื่อสวนซึ่งเป็นสถานที่จัดงานมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549 ณ ศูนย์วิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม่ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ว่า “สวนหลวงราชพฤกษ์” ต่อมาท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ รองราชเลขาธิการ ได้นำความกราบบังคมทูลพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อสวนดังกล่าวว่า “อุทยานหลวงราชพฤกษ์” ตั้งแต่วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2553 และได้รับพระราชทานชื่อภาษาอังกฤษว่า “Royal Park Rajapruek

- อุทยานแห่งชาติห้วยน้ำดัง

อุทยานแห่งชาติห้วยน้ำดัง มีพื้นที่ครอบคลุมท้องที่อำเภอแม่แตง อำเภอเชียงดาว อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ และอำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีสภาพป่าและธรรมชาติที่สมบูรณ์ ภูเขาสูงชันสลับซับซ้อน เป็นป่าต้นน้ำลำธาร มีจุดเด่นทางธรรมชาติที่สวยงามและจุดชมวิวที่สามารถชมบรรยากาศอันร่มรื่น โดยเฉพาะบริเวณห้วยน้ำดัง ที่มีชื่อว่าทะเลหมอกที่งดงามยิ่ง มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของประเทศไทย อุทยานแห่งชาติห้วยน้ำดังมียอดดอยที่มีธรรมชาติงดงามอีกหลายแห่ง เช่น ดอยช้าง ดอยสามหมื่น รวมทั้งมีโป่งเดือดซึ่งเป็นน้ำพุร้อนธรรมชาติ ส่วนการล่องแพในลำน้ำแม่แต่งก็เป็นที่นิยมมากขึ้นเรื่อย ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 782,575 ไร่ หรือ 1,252.12 ตารางกิโลเมตร
ตามมติที่ประชุมคณะอนุกรรมการข้าราชการ พลเรือน (อ.ก.พ.) ประจำกรมป่าไม้ ครั้งที่ 9/2530 เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2530 ให้กองอนุรักษ์ต้นน้ำ และกองอุทยานแห่งชาติประสานงานกัน จัดส่งเจ้าหน้าที่ไปสำรวจพื้นที่บริเวณหน่วยพัฒนาต้นน้ำที่ 2 (ห้วยน้ำดัง) จังหวัดเชียงใหม่บางส่วน เพื่อพิจารณาจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติตามข้อเสนอแนะของกองอนุรักษ์ต้นน้ำ กองอุทยานแห่งชาติได้มีหนังสือ ที่ กษ 0713/ ลงวันที่ 3 ธันวาคม 2530 กรมป่าไม้ให้ นายณรงค์ เจริญไชย เจ้าพนักงานป่าไม้ 4 ไปทำการสำรวจพื้นที่ร่วมกับหัวหน้าหน่วยพัฒนาต้นน้ำที่ 2 (ห้วยน้ำดัง) หัวหน้าหน่วยพัฒนาต้นน้ำที่ 4 (แม่แจ่มหลวง) และหัวหน้าหน่วยพัฒนาต้นน้ำที่ 9 (ห้วยน้ำรู) ซึ่งได้รายงานผลการสำรวจตามหนังสือ ที่ กษ 0713(ทป)/86 ลงวันที่ 3 เมษายน 2531 แต่เนื่องจากยังขาดรายละเอียดต่างๆ และขอบเขตพื้นที่ที่เหมาะสมในการกำหนดเขตอุทยานแห่งชาติ ประกอบกับวนอุทยานโป่งเดือด จังหวัดเชียงใหม่ มีหนังสือ ที่ กษ 0713(ปด)/10 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2531 แจ้งว่า เนื้อที่ใกล้เคียงวนอุทยานมีความเหมาะสมที่จะรวมกับพื้นที่หน่วยพัฒนาต้นน้ำ ที่ 2 (ห้วยน้ำดัง) จัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ
กองอุทยานแห่งชาติได้มีหนังสือ ที่ กษ 0713/950 ลงวันที่ 16 สิงหาคม 2531 เสนอกรมป่าไม้ให้ นายสวัสดิ์ ทวีรัตน์ เจ้าพนักงานป่าไม้ 4 หัวหน้าวนอุทยานโป่งเดือดไปสำรวจเบื้องต้นบริเวณดังกล่าว ได้รับรายงานผลการสำรวจตามหนังสือ ที่ กษ 0713(ปด)/74 ลงวันที่ 14 ธันวาคม 2531 ว่า ได้ทำการสำรวจร่วมกับ นายณรงค์ เจริญไชย เจ้าพนักงานป่าไม้ 4 พื้นที่บริเวณดังกล่าวมีสภาพป่าธรรมชาติที่สมบูรณ์ ภูเขาสูงชันสลับซับซ้อน เป็นป่าต้นน้ำลำธาร มีจุดเด่นทางธรรมชาติที่สวยงามเหมาะสมจะจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ
กองอุทยานแห่งชาติได้มีหนังสือ ที่ กษ 0713/206 ลงวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2532 เสนอกรมป่าไม้ขอความเห็นชอบ เพื่อนำเรื่องการจัดตั้งอุทยานแห่งชาติห้วยน้ำดังเข้าพิจารณาในที่ประชุมคณะ กรรมการอุทยานแห่งชาติ เพื่อให้ความเห็นชอบกำหนดบริเวณพื้นที่หน่วยพัฒนาต้นน้ำที่ 2 (ห้วยน้ำดัง) หน่วยพัฒนาต้นน้ำที่ 4 (แม่จอกหลวง) หน่วยพัฒนาต้นน้ำที่ 9 (ห้วยน้ำรู) บางส่วน และพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ปายฝั่งซ้ายตอนบน ในป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่แตงในท้องที่ตำบลกี๊ดช้าง อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ และ ตำบลแม่อี้ อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีเนื้อที่ประมาณ 1,252.12 ตารางกิโลเมตร หรือ 782,575 ไร่ เป็นอุทยานแห่งชาติตามพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 ต่อไป
ต่อมาได้มีวิทยุกองอุทยานแห่งชาติที่ กษ 0712 ทับ 97 ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน 2534 ให้อุทยานแห่งชาติห้วยน้ำดัง ประสานงานกับหัวหน้าเขตห้ามล่าสัตว์ป่าแม่เลา-แม่แสะ และให้สำรวจพื้นที่บางส่วนของเขตห้ามล่าสัตว์ป่าแม่เลา-แม่แสะ และพื้นที่วนอุทยานโป่งเดือด ในท้องที่ตำบลเมืองคอง อำเภอเชียงดาว และตำบลป่าแป๋ ตำบลเมืองกาย อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อกำหนดให้เป็นอุทยานแห่งชาติเพิ่มเติมประมาณ 118,906.25 ไร่ หรือ 190.25 ตารางกิโลเมตร เนื่องจากพบว่า พื้นที่ส่วนใหญ่มีสภาพป่าที่อุดมสมบูรณ์ มีศักยภาพสูงมาก มีจุดเด่นที่สวยงาม เช่น โป่งเดือด น้ำตก ลุ่มน้ำแม่แตง รวมทั้งความหลากหลายของพืชพรรณ และสัตว์ป่าที่ชุกชม มีความเหมาะสมอย่างยิ่งที่ต้องเร่งดำเนินการกำหนดให้เป็นอุทยานแห่งชาติโดย ด่วน
อุทยานแห่งชาติห้วยน้ำดังได้ประกาศให้เป็นอุทยานแห่ง ชาติ โดยได้มีพระราชกฤษฎีกากำหนดบริเวณที่ดินป่าเชียงดาว และป่าแม่แตงในท้องที่ตำบลเปียงหลวง ตำบลเมืองแหง อำเภอเวียงแหง ตำบลกื้ดช้าง ตำบลป่าแป๋ อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ และป่าแม่ปายฝั่งซ้ายตอนบนในท้องที่ตำบลเวียงเหนือ ตำบลแม่ฮี้ ตำบลแม่นาเติง อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 112 ตอนที่ 33ก ลงวันที่ 14 สิงหาคม 2538 มีเนื้อที่ประมาณ 782,575 ไร่ หรือ 1,252.12 ตารางกิโลเมตร นับเป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 81 ของประเทศไทย

- ถนนคนเดินท่าแพ

ถนนคนเดินท่าแพ ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเมือง อาทิตย์ เทศบาลเชียงใหม่ จะปิดถนนส่วนหนึ่งในเชียงใหม่ เพื่อให้ชาวบ้านนำสินค้าหัตถกรรมมาวางขาย ถนนคนเดินที่นี่ได้รับความสนใจอย่างมากจากนักท่องเที่ยวชาวไทยจากทุกภาคและ ชาวต่างประเทศหลากหลายภาษาทั้งยุโรป เอเชีย ถนนคนเดินท่าแพ อยู่บริเวณประตูเมืองท่าแพต่อไปยังถนนราชดำเนิน เปิดเฉพาะวันอาทิตย์ เวลาประมาณ 17.00 – 22.00 น. เป็นแหล่งจำหน่ายสินค้าขนาดใหญ่ มีสินค้าให้เลือกสรรมากมายหลากหลายประเภท ทั้งสินค้าทางวัฒนธรรม เช่น สินค้าพื้นเมือง จำพวกเครื่องประดับตกแต่ง เสื้อผ้า ของที่ระลึก กระเป๋า ผ้าพันคอ โคมไฟ ฯลฯ หรือจะเป็นสินค้าแฟชั่นก็มีให้เห็นอยู่โดยทั่วไป รวมทั้งของกิน เช่น ขนมจีนน้ำเงี้ยว/น้ำยา ของทานเล่น โรตี ฯลฯ หากมาเยือนในช่วงอากาศหนาว ๆ เดินเที่ยวกาดกลางคืน ถนนคนเดินเชียงใหม่ก็เพลิดเพลินไปอีกแบบหนึ่ง ซึ่งที่นี่เป็นถนนคนเดินที่ใหญ่ที่สุดในเชียงใหม่และได้รับความสนใจอย่างมาก จากนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ

- ถนนคนเดินวัวลาย

ถนนคนเดินวัวลาย ถนนคนเดินเชียงใหม่วัวลายเป็นเป็นถนนคนเดินยอดฮิตมากที่สุดแห่งหนึ่งของคนเชียงใหม่ นักท่องเที่ยวที่ขึ้นมารเชียงใหม่หากไม่สามารถเดินถนนคนเดินท่าแพใน วันอาทิตย์ก็มักจะมาเดินที่ถนนคนเดินวัวลายนี้ ถนนคนเดินวัวลายจะเปิดเฉพาะคืนวันเสาร์โดยจะทำการปิดถนนวัวลายที่ อยู่ใกล้กับประตูเมืองเชียงใหม่ มีความยาวเป็นหลักกิโลทำให้กว่าจะเดินไปกลับครบก็เมื่อยพอดู ถึงกระนั้นก็ตามถนนคนเดินนี้ก็เต็มไปด้วยนักท่องเที่ยวและคนท้องถิ่นเข้ามา จับจ่ายซื้อของกินรวมถึงซื้อของที่ระลึกต่างๆ ถนนคนเดินเชียงใหม่วัวลายมีชื่อเสียงในเรื่องของเครื่องเงินสลักลวดลายซึ่ง รู้จักกันดีในชื่อของ เครื่องเงินวัวลาย นักท่องเที่ยวจะมีโอกาสได้เห็นการสลักเครื่องเงินกันแบบสดๆริมทาง ซึ่งเมื่อมองย้อนอดีตไปจากหลักฐานเครื่องเงินวัวลายเริ่มต้นจากการสืบทอดมา ตั้งแต่ครั้งที่เชียงใหม่ได้ขอเจรจาช่างฝีมือมาจากทางพุกาม ประเทศพม่า และมีการสืบทอดกันเรื่อยมา โดยเฉพาะเครื่องเงินของบ้านศรีสุพรรณซึ่งอยู่ใกล้กับบริเวณวัดศรีสุพรรณ(วัด เงิน) เป็นช่างในคุ้มหลวงเมืองเชียงใหม่ในอดีต ในสมัยนั้นเกือบทุกบ้านจะมีโรงงานขนาดเล็กประจำอยู่ที่บ้าน เรียกว่า “เตาเส่า” นอกจากนักท่องเที่ยวจะได้เพลิดเพลินกับของกินและของที่ระลึกต่างๆแล้ว ยังมีโอกาสได้เห็นการแสดงของศิลปินข้างถนนซึ่งส่วนมากจะเป็นการเล่นดนตรี ซึ่งมีทั้งดนตรีพื้นบ้าน ดนตรีจากคนตาบอด รวมถึงศิลปินวัยรุ่นที่มาเล่นเพลงต่างๆ ยิ่งถ้าช่วงหน้าหนาวการมาเดินเล่นบนถนนคนเดินเชียงใหม่วัวลายจะได้บรรยากาศ เมืองเหนือมากยิ่งขึ้นไปอีก

Baby elephant chiangmai

Baby elephant chiangmai แสนน่ารัก ที่พร้อมยินดีต้อนรับ นักท่องเที่ยวเช่นคุณ วันนี้กับทัวร์ช้างแสนพิเศษที่รับรองว่าคุณต้องประทับใจอย่างแน่นอน ทริปท่องเที่ยวทัวร์ช้างสุดพิเศษ เที่ยวชมชีวิตความเป็นอยู่ของชาวบ้านและช้างไทยตามสไตล์แบบธรรมชาติ คุณจะได้เจอกับ Baby elephant chiangmai ที่จะทำให้คุณประทับใจกับการมาทริปครั้งนี้อย่างแน่นอน


 ความสำคัญของช้างไทย - ช้างเป็นสัตว์คู่บารมีของพระมหากษัตริย์ไทย ช้างเป็นสัตว์ที่ดำรงอยู่คู่กับประเทศไทยมาเป็นเวลานาน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สยามประเทศเคยใช้ธงชาติเป็นรูปช้างเผือก ชาวไทยเชื่อกันว่าช้างเผือกเป็นสัตว์คู่บารมีของพระมหากษัตริย์ ช้างเผือกจึงได้รับการยกย่องเสมือนเจ้านายชั้นเจ้าฟ้า - ช้างเป็นผู้ปกป้องเอกราชแห่งชาติไทย ประวัติศาสตร์ชาติไทยได้จารึกไว้ว่าช้างได้เข้ามามีส่วนในการปกป้องเอกราชและความเป็นชาติให้แก่ชาวไทยหลายยุคหลายสมัย ในสมัยกรุงธนบุรีพระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชก็ทรงรวบรวมชายไทยให้เป็นปึกแผ่นและมั่นคงบนหลังช้างทรงพระที่นั่ง และในสมัยพระบาทสมเด็จพระนเรศวรมหาราชก็ได้ทรงประกาศเอกราชและความเป็นชาติของคนไทยบนหลังช้างทรงพระที่นั่งด้วยเช่นกัน ซึ่งช้างทรงในสมเด็จพระนเรศวรนับว่าเป็นช้างไทยที่ได้รับเกียรติอันสูงสุด โดยจากความกล้าหาญในสมรภูมิรบ ทำให้ช้างไทยเชือกนี้ได้รับพระราชทานยศให้เป็นถึง "เจ้าพระยาปราบหงสาวดี" - ช้างใช้ในพระราชพิธีสำคัญต่างๆ การสร้างสรรค์วัฒนธรรมที่ดีงามของชาติไทยในอดีตกาลนั้นล้วนแต่ได้ช้างเข้ามามีส่วนร่วมอยู่ด้วยทั้งสิ้น เมื่อประมาณ 200 กว่าปีที่ผ่านมา ก็ได้ช้างเข้ามาเป็นแรงงานสำคัญอีกเช่นกัน เมื่อแรกเริ่มการตั้งกรุงรัตนโกสินทร์นั้นช้างคือพาหนะสำคัญที่อัญเชิญพระพุทธมณีรัตนปฏิมากรแก้วมรกตมาสถิตย์ ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม นอกจากนี้ในงานพระราชพิธีต่างๆ อาทิ พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา งานพระราชพิธีฉัตรมงคล หรือในงานพระราชทานงานเลี้ยงเพื่อเป็นเกียรติแก่พระราชอาคันตุกะหรือประมุขของต่างประเทศที่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท จะต้องนำช้างเผือกแต่งเครื่องคชาภรณ์ไปยืนที่แท่นเกยช้างด้านตะวันตกของพระที่นั่งดุสิตาภิรมย์ในพระบรมมหาราชวังเพื่อประกอบพระเกียรติยศ - ช้างสร้างความสัมพันธ์ไมตรีระหว่างประเทศ ในสมัยรัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสสิงคโปร์ และเบตาเวีย (จาการ์ตา) ประเทศอินโดนีเซีย ได้พระราชทานช้างสำริดให้แก่ทั้ง 2 ประเทศนี้ - ช้างใช้เป็นพาหนะในการคมนาคม ในยุคสมัยที่การคมนาคมยังไม่เจริญเทียบเท่ากับในปัจจุบัน มนุษย์ยังไม่ได้มีการพัฒนาเครื่องจักรต่างๆ สำหรับนำมาใช้เป็นเครื่องทุ่นแรงเพื่อการขนส่งของ ช้างคือพาหนะที่ดีและมีประสิทธิภาพที่สุดสำหรับมนุษย์ เนื่องจากช้างเป็นสัตว์ใหญ่มีความเฉลียวฉลาดและมีพละกำลังมหาศาล ช้างจึงสามารถขนส่งสิ่งต่างๆ ที่มีอยู่ในปริมาณมากได้อย่างอดทน - ช้างใช้ในการอุตสาหกรรมทำไม้ การใช้ช้างทำไม้ในประเทศไทยเริ่มตั้งแต่การล้มไม้ การทอนไม้ซุง การขนส่งไม้จนถึงโรงงานหรือตลาดการค้า ในแง่ของการอนุรักษ์ป่าไม้ และระบบการจัดการป่าไม้ในประเทศไทย การใช้ช้างชักลากไม้ นับว่าเหมาะสมมาก เพราะช้างสามารถเดินไปได้โดยไม่ทำลายกล้าไม้ต้นเล็กๆ ไม่ทำให้ดินแน่น ไม่ต้องตัดถนนหนทางให้มากเส้น นอกจากนี้ช้างยังขึ้นเขาได้ดี และมีอายุการใช้งานนานถึง 50 ปี ในปัจจุบัเมื่อมนุษย์ได้มีการพัฒนาเครื่องจักรและเทคโนโลยีที่ทันสมัย ความนิยมในการใช้แรงงานจากช้างจึงค่อยๆ ลดลง แต่ช้างก็ยังคงเป็นสัตว์ที่คนไทยทั้งชาติให้ความสำคัญเสมอดังนั้นรัฐบาลไทยจึงได้กำหนดให้ช้างเผือกเป็นสัตว์สัญลักษณ์ของชาติ โดยกำหนดให้ทุกวันที่ 13 มีนาคมของทุกปีเป็นวันช้างไทย 

ความสำคัญของช้างต่อประวัติศาสตร์ชาติไทย ข้อความที่ปรากฎอยู่ในศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่หนึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าในสมัยที่กรุงสุโขทัยเป็นราชธานีนั้น "ช้าง" คือขุนพลที่ร่วมรบอยู่ในสมรภูมิจนมีชัยชนะ อีกทั้งพระมหากษัตริย์ทรงประทับช้างนำราษฎรไปบำเพ็ญกุศลตามพระอารามในอรัญญิก จะเห็นได้ว่าทั้งในยามศึกและยามสงบช้างอยู่คู่แผ่นดินสุโขทัยเรื่อยมา ช้างมีความสำคัญมากถึงเพียงนี้ จึงมีการสอนวิชาขับขี่ช้างซึ่งเป็นวิชาสำคัญสำหรับเจ้านายและลูกผู้ดีเพื่อยังประโยชน์ในการใช้ช้างเป็นพาหนะและเตรียมการเพื่อศึกสงคราม ช้างใช้ในการศึกสงครามในอดีต ในสมัยโบราณ ช้างเป็นยุทธปัจจัยสำคัญของกองทัพเปรียบได้กับรถถังประจัญบานของนักรบในปัจจุบัน ทว่าชัยชนะที่ได้รับนั้นจะดูสง่างามกว่าหลายเท่า เพราะมนุษย์ที่นั่งอยู่บนคอช้างต้องเชี่ยวชาญอาวุธของ้าว ใช้ความกล้าหาญไสช้างแต่ละเชือกพุ่งตรงเข้ารบปะทะกันตัวต่อตัว ช้างต่อช้างเข้าชนกันนั้น หากช้างของผู้ใดมีความสามารถมากกว่าก็จะงัดช้างศัตรูขึ้นด้วยงาจนแหงนหงาย หรือเบนบ่ายจนได้ที เพื่อให้แม่ทัพบนคอช้างส่งอาวุธเข้าจ้วงฟันคู่ต่อสู้ ช้างกับนักรบบนคอช้างจึงต้องมีกำลังแข็งแรงฝีมือเข้มแข็ง ทั้งคู่จึงจะได้ชัยชนะมาประดับเป็นเกียรติยศพระเจ้าแผ่นดิน การรบบนช้างหรือที่เรียกว่า ยุทธหัตถี นั้น เกิดขึ้นไม่บ่อยนักในประวัติศาสตร์ไทย แต่ครั้งสำคัญที่สุด ซึ่งคนไทยยังกล่าวขวัญจดจำไม่รู้ลืม คือ การยุทธหัตถีระหว่างสมเด็จพระนเรศวรมหาราชแห่งกรุงศรีอยุธยาและพระมหาอุปราชาแห่งหงสาวดี ที่ตำบลหนองสาหร่าย แขวงเมืองสุพรรณบุรี เมื่อปีพุทธศักราช 2135 หรือกว่า 400 ปีล่วงมาแล้ว 

Baby elephant chiangmai
ที่มาของวันช้างไทย เกิดจากการริเริ่มของคณะอนุกรรมการประสานงานการอนุรักษ์ช้างไทย ซึ่งเป็นหน่วยงานประสานงานองค์กรภาครัฐและเอกชนที่ทำงานเกี่ยวกับการอนุรักษ์ช้างไทย ของคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เนื่องจากเล็งเห็นว่าหากมีการสถาปนาวันช้างไทยขึ้น ก็จะช่วยให้ประชาชนคนไทยหันมาสนใจช้าง รักช้าง หวงแหนช้าง ตลอดจนให้ความสำคัญต่อการให้ความช่วยเหลืออนุรักษ์ช้างมากขึ้น คณะอนุกรรมการฯ จึงได้พิจารณาหาวันที่เหมาะสม ซึ่งครั้งแรกได้พิจารณาเอาวันที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทำยุทธหัตถี มีชัยชนะเหนือพระมหาอุปราชา แต่วันดังกล่าวถูกนำมาใช้เป็นวันกองทัพไทยไปแล้ว จึงได้พิจารณาวันอื่น และเห็นว่าวันที่ 13 มีนาคม ซึ่งเป็นวันที่คณะกรรมการคัดเลือกสัตว์ประจำชาติ มีมติให้ช้างเผือกเป็นสัญลักษณ์ของประเทศไทยนั้นมีความเหมาะสม จึงได้นำเสนอมติตามลำดับขั้นเข้าสู่คณะรัฐมนตรี โดยได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์อีกทางหนึ่ง ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อ วันที่ 26 พฤษภาคม 2541 เห็นชอบให้วันที่ 13 มีนาคม เป็นวันช้างไทย และได้ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีลงในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2541 ผลจากการที่ประเทศไทยมีวันช้างไทยเกิดขึ้น นับเป็นการยกย่องให้เกียรติว่าเป็นสัตว์ที่มีความสำคัญอีกครั้ง นอกเหนือจากเกียรติที่ช้างเคยได้รับในอดีต ไม่ว่าจะเป็นช้างเผือกในธงชาติ หรือช้างเผือกที่เป็นสัญลักษณ์ของประเทศ หรือสัตว์คู่พระบารมี ของพระมหากษัตริย์ไทย


ทัวร์รักช้างของเรา เป็นทัวร์พิเศษที่ไม่เหมือนใคร ทัวร์ของเราจะเน้น การท่องเที่ยวตามธรรมชาติ ที่จะมีช้างเป็นเพื่อนระหว่างทริป คุณจะได้เห็นวิถีชีวิต แบบธรรมชาติระหว่างชาวบ้านและช้างไทย ที่จะอนุรักษ์ และอยู่ร่วมกันได้อย่างลงตัว เราถือว่าช้างเป็นสัตว์ที่อยู่คู่บ้านคู่เมืองของไทยเรามาแต่ช้านาน คุณจะได้สัมผัส ช้างแบบใกล้ชิด พิเศษสุดๆ คุณจะได้เห็น Baby elephant chiangmai ที่แสนน่ารัก แสนรู้ที่จะคอยต้อนรับคุณในทริปนี้อย่างแน่นอน Baby elephant chiangmai ท่านจะได้พบกับวิถีชีวิตการใช้ชีวิต ที่แปลกใหม่แหวกแนว ไม่เหมือนใครด้วยวิถีชีวิตแบบคนโบราณที่ใช้ชีวิตกับเจ้าแห่งขุขเขาป่าดงพงไพร สัตว์ที่มีขนาใหญ่ สัวต์ที่มีประวัติศาสตร์ร่วมกับ ผืนแผ่นดินไทยมาอย่างยาวนานเป็นที่กล่าวขาน ขนานนามไปทั่วภูมิภาค ท่านจะได้สัมผัสกับบรรดาเหล่าช้างน้อย ลูกช้าง ที่กำลังซุกซน แสดงความน่ารักต่าง ๆ ซึ่งจะได้สัมผัสบรรยากาศแบบนี้แบบใกล้ชิด ทว่าเสมือนคนเลี้ยงช้างฝึกช้าง ให้อาหาร พาไปว่ายน้ำ บรรยากาศแบบนี้หาที่ไหนไม่ได้อีกแล้ว How to train Baby elephant chiangmai ทริปที่เราจะพาทุกท่านไป นั่น จะเป็นทริปที่ทุกท่าน ที่รักและชื่นชอบในการท่องเที่ยวและอนุรักษ์ช้างนั้น ต้องมีความหลงใหลและชื่นชอบอย่างแน่นอน เพราะท่านจะได้สัมผัสและชื่นชอบช้างไทย อย่างใกล้ชิด รับรองว่าทริปนี้ท่านจะได้ความสนุกและเป็นการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่ทำให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์กับอนุรักษ์สัตว์ป่า อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมป่าไม้ต้นน้ำลำธาร ให้คงอยู่ต่อไป
Baby elephant chiangmai



 CONTACT US Rak Chang Elephant Training Address : 27 Sanambinkao Suthep Muang Chiangmai 50200 Tel : 053-272087 ,091-0766254 ,086-9126463

Wat in LAMPHUN Province

Wat in LAMPHUN Province

Legend handed down for more than 1,400 years refer to this ancient town as Hariphunchai. Its first ruler was Queen Chamthewi who was of Mon extraction. In late 12th century, King Mengrai overran the town and subsequently integrated it into the Lanna Kingdom.

Today, Lamphun still retain its enchanting ambience of a small but old community. It is some 670 kilometres from Bangkok and only 26 kilometres from Chiang Mai. Located on the bank of the Kuang River, its attractions include ancient sites and relics as well as forests and mountains and delightful lakes. Lamphun is the most famous producer of longans.


Wat Phra Phutthabat Tak Pha
About 7 kilometres away on the route to Li district is Wat Phra Phutthabat Tak Pha. Legend has it that the Lord Buddha once stayed here, leaving a trace of likeness of monk's saffron robe and his footprint of stone ground.

Wat Phra Yuen
Another ancient site related to the old history of the town is Wat Phra Yuen. The Ku Chang-Ku Ma Chedi at the temple is surrounded on four directions by standing statues. The Chedi itself is cylinder-shaped and commemorates Queen Chamthewi's war elephant and her son's steed.


Wat Chamthewi

Wat Chamthewi, commonly referred to a “Ku Kut”, is located on the Lamphun-San Pa Tong Road and built in 1298 B.E. in the Lawo (Lopburi) style. The Chedi is a square structure similar to Buddhagaya in India. Around the Chedi are levels of arches holding a total of 60 Buddha statues. Ashes of the queen are enshrined within the Chedi.

Wat Mahawan
On the road parallel to the old city wall to the west of town is Wat Mahawan, an old temple built since the times of Queen Chamthewi. Enshrined here is a Nak Prok statue (statue with mythical serphants overhead) which was brought to the temple by the Queen. Commonly known as Phra Rot Lamphun, it serves as the model for the famous votive tablet.

Lamphun Travels




Lamphun, formerly Hariphunchai, is another historical sites. The town was founded in the year 1663 and the first ruler was a Queen called Chammathewi. This charming province is also noted for its beautiful women and tasty longans.

With an area of 4,506 sq. kms., the province has 7 Amphoes namely: Muang, Pa Sang, Ban Hong, Mae Tha, Li, Thung Hua Chang, and Ban Thi. The town is about 670 kilometers from Bangkok by car.


LAMPHUN's ATTRACTIONS

In The City :


Wat Phrathat Hariphunchai
This monastery is in the township area, built in the reign of King Athittayarat and has been repaired, renewed, and enlarged from time to time. Phrathat Hariphunchai Pagoda is currently 46 meters high having nine tiered umbrella, made of gold weighing approximately 6,498.75 grams, placing on the top. The base is of square shape with 20 meters in length on each side. On every full moon day of the sixth lunar month, there is a celebration of this Wat Phrathat in term of the annual fair.

Hariphunchai National Museum which houses numerous Lanna antiques found in the region. The museum is open to public everyday except Monday, Tuesday and official holidays from 09.00 -16.00. Admission fee is 10 baht.

Ku Kut Pagoda or Wat Chamma Thewi (Swan Changkot Chedi) This monastery was built around A.D. 755 by Khmer artisans. The pagoda structure is of the square Buddha Gaya Characteristics as seen in India. Three standing Buddha images, in the attitude of blessing are enshrined on each level of the pagoda base of each side totaling 15 images for one side of five levels, grand totaling 60 Buddha image d the pagoda. Relics of Queen Chammathewi, the first ruler of Hariphunchai housed inside the pagoda. The pagoda top was originally covered with gold but later, was broken and disappeared thus giving to the name "Ku Kut" or Pagoda without top.

Other temples in the vicinity include Wat Mahawan , noted for sacred amulets, Wat Phra Yun or Wat Buddha Maha Sathan built by King Thammikarat about one thousand years ago.

Along Highway to Chiang Mai is located the village of Nong Chang Khun which is noted for the biggest plantations of longans in the country.


Along The Route to Pa Sang(Road No.106) :


Amphoe Pa Sang is about 10 kilometers from Lamphun. It is noted as the centre for local handicrafts and also for its beautiful and charming women.

Tak Pha Buddha Footprints The footprints are located on the top of a small hill in the area of Tambon Makok, Amphoe Pa Sang, 16 kms. from the township area. The legend says that Lord Buddha left his footprints during his visit to that locality for Lawa tribal people to pay their homages to in lieu of he himself. He also dried his suffron robe on the cliff where one, at present, can see a mark like a piece of suffron robe being dried there thus originating the name of Tak Pha Buddha Footprints or Drying Suffron Robe Buddha Footprints. Annual celebration takes place on the eight day of warming moon of the sixth lunar month of every year when inhabitants of Lamphun and neighbouring provinces flock to the annual fair.


Amphoe Mae Tha :

Doi Khun Tan National Park Doi Khun Tan is located on a mountain range bordering on both Lampang and Lamphun Provinces. There is a 1,362 meter long tunnel, regarded the longest in Thailand, for railroad underneath the mountain. There are accommodations, which belong to the Royal State Railway of Thailand, a missionary party, and the Royal Forestry Department, on top of Doi Khun Tan.

Amphoe Li :


Mae Ping National Park
situated at km. 47 on Lamphun - Li - Thoen route, (Highway 106) the park covers a lake and a forest above Phumiphol Dam. Attractions in the area of the park are : Namtok Ko Luang , Tham Yang Wi , and Kaeng Ko, etc. Langan Fair.

Langan Fair This fair, held in August every year, features a contest to judge the best fruit and select Miss Lamyai (Langan) for each year.

ลำพูน/Information of LAMPHUN

ลำพูน/Information of LAMPHUN

General Information
Legend handed down for more than 1,400 years refer to this ancient town as Hariphunchai. Its first ruler was Queen Chamthewi who was of Mon extraction. In late 12th century, King Mengrai overran the town and subsequently integrated it into the Lanna Kingdom.

Today, Lamphun still retain its enchanting ambience of a small but old community. It is some 670 kilometres from Bangkok and only 26 kilometres from Chiang Mai. Located on the bank of the Kuang River, its attractions include ancient sites and relics as well as forests and mountains and delightful lakes. Lamphun is the most famous producer of longans.

How to get there
Car
From Bangkok, take Highway No. 1 to Nakhon Sawan via Sing Buri and Chai Nat, then turn into Highway No. 11 and proceed to Lamphun, a total distance of 670 kilometres.

Bus
Both air-conditioned and non air-conditioned buses departs from Bangkok’s Mochit 2 Bus Terminal to Lamphun daily. Travelling time is about 9 hours. Call 0 2936 0852-66 or visit www.transport.co.th for more information. Indra Tour which is a private bus company also operate air-conditioned bus to Lamphun. Call 0 2208 0840 for information.

Rail
Trains leave Bangkok’s Hua Lamphong Raialway Station every day. Call 1690 for more information.

Air
Visitors can fly from Bangkok to Chiang Mai and then connect a Chiang Mai-Lamphun bus which leave Chang Phueak Bus Station every 15 minutes. Travelling time from Chiang Mai to Lamphun is 45 minutes.

Festivals
Longan Fair
Another event is the Longan Fair in August which is designed to promote this hugely popular produce. There are the beautifully decorated Longan Parade and Longan contests.

Song Nam Phra That Hariphunchai
The most well-known event in Lamphun is the Song Nam Phra That Hariphunchai, which dates back to the olden times. Held to celebrate the province's principal religious site, it takes place in May.

อำเภอป่าซาง
ถ้ำเอราวัณ
(จังหวัดลำพูน)
ถ้ำยางวี
(จังหวัดลำพูน)
แก่งสร้อย
(จังหวัดลำพูน)
ลำพูน
น้ำตกก้อหลวง
(จังหวัดลำพูน)
พระพุทธบาทตากผ้า
(จังหวัดลำพูน)
ลำพูน
พระเจดีย์ห้าดวง
(จังหวัดลำพูน)
วัดพระบาทห้วยต้น
Wat Phra Bat Huai Tom
(จังหวัดลำพูน)
ลำพูน
อุทยานแห่งชาติแม่ปิง
Mae Ping National Park
(จังหวัดลำพูน)
ทุ่งกิ๊ก-ทุ่งนางู
(จังหวัดลำพูน)



แหล่งท่องเที่ยวอำเภอเมือง
ดอยขะม้อ
(จังหวัดลำพูน)
ลำพูน
วัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร
Wat Phra That Harinphunchai
(จังหวัดลำพูน)
ลำพูน
ซุ้มประตู
(จังหวัดลำพูน)
วิหารหลวง
(จังหวัดลำพูน)
พระบรมธาตุหริภุญชัย
(จังหวัดลำพูน)
พระสุวรรณเจดีย์
(จังหวัดลำพูน)
วัดจามเทวี
Wat Chamthewi
(จังหวัดลำพูน)
ลำพูน
กู่ช่าง-กู่ม้า
(จังหวัดลำพูน)
ลำพูน
วัดพระยืน
Wat Phra Yun
(จังหวัดลำพูน)
อนุสาวรีย์ครูบาศรีวิชัย
(จังหวัดลำพูน)
วัดมหาวัน
Wat Mahawan
(จังหวัดลำพูน)
อนุสาวรีย์สุเทวฤาษี
(จังหวัดลำพูน)
ลำพูน
อนุสาวรีย์พระนางจามเทวี
The Phra Nang Chamthewi Statue
(จังหวัดลำพูน)
ลำพูน
ลำไยบ้านหนองช้างคืน
The Ban Nong Chang Khun
(จังหวัดลำพูน)
วนอุทยานดอยเวียงแก้ว
(จังหวัดลำพูน)






แผนที่จังหวัดลำพูน/map of LAMPHUN
ลำพูน
แผนที่จังหวัดลำพูน
ลำพูน
แผนที่จังหวัดลำพูน

Lamphun Province Travel สถานที่ท่องเที่ยว ลำพูน

อำเภอเมือง
อนุสาวรีย์พระนางจามเทวี
อนุสาวรีย์
วัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร
พระธาตุ
พิพิธภัณฑฯ หริภุญไชย
พิพิธภัณฑ์
วัดมหาวันวนาราม
นาคปรกหน้าวิหาร
วัดจามเทวี
เจดีย์กุดกู่
เจดีย์พระยืน
อนุสาวรีย์ครูบาศรีวิชัย
อนุสาวรีย์
กู่ช้าง-กู่ม้า
อนุสาวรีย์สุเทวฤาษี

ศูนย์ศิลปหัตถกรรม
ผ้าไหมยกดอกเพ็ญศิริ

สวนสายน้ำแร่

ดอยชะม้อ

บ้านหนองช้างคืน



อำเภอบ้านธิ
วัดศรีดอนชัย

อ่างเก็บน้ำแม่ธิ

วัดพระธาตุดอยเวียง

พระธาตุดอยห้างบาตร



อำเภอแม่ทา
อ่างเก็บน้ำแม่กึม

หมู้บ้านแกะสลักบ้านทา

ถ้ำจำหม่าฟ้า

อ่างเก็บน้ำแม่เส้า



อุทยานแห่งชาติดอยขุนตาล



อุโมงค์ขุนตาล
อุโมงค์
บริเวณยอดเขา
จุดชมวิวยอดเขา
น้ำตกแม่กลอง
น้ำตกแม่กลอง
น้ำตกตาดเหมย
น้ำตกตาดเหมย


อำเภอป่าซาง
ตลาดสินค้าพื้นเมืองป่าซาง

แหล่งทอผ้าบ้านหนองเงือก

วัดหนองเงือก

วัดป่าเหียง
หอไตรกลางน้ำวัดป่าเหียง
แหล่งศิลาแดง

วัดพระพุทธบาทตากผ้า
ถ้ำเอราวัณ



อำเภอบ้านโฮ่ง
วัดพระเจ้าตนหลวง

หมู้บ้านกะเหรี่ยงพัฒนาห้วยหละ

ถ้ำหลวง

น้ำตกวังหลวง



อำเภอลี้
วัดบ้านปาง

พระธาตุเจดีย์ห้าดวง

วัดพระบาทห้วยต้ม

อุทยานแห่งชาติแม่ปิง


ถ้ำยางวี

ทุ่งกิ๊ก-ทุ่งนางู

น้ำตกก้อหลวง

แก่งก้อ